แบบประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ
สำหรับอาจารย์
ด้านการเรียนการสอน
คำชี้แจ้ง
ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับการเรียนการสอน เช่น ระบบรับสมัครนักศึกษา
ระบบกรอกผลการเรียนออนไลน์ ระบบจัดผู้สอนออนไลน์ ระบบมคอ.ออนไลน์
เป็นต้น
การประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศด้านการเรียนการสอน
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ด้านการทำงานของระบบสารสนเทศด้านการเรียนการสอน สามารถสืบค้น สามารถทำงาน และสามารถแสดงผลได้ตามต้องการ | |||||
2. ด้านประสิทธิผลของระบบสารสนเทศด้านการเรียนการสอนสามารถประมวลผลข้อมูลได้ดี มีความถูกต้อง แม่นยำ และสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือสนับสนุนการตัดสินใจได้ | |||||
3. ด้านความยากง่ายต่อการใช้ระบบสารสนเทศด้านการเรียนการสอน มีรูปแบบ ตัวอักษร สัญลักษณ์ ความเหมาะสมของหน้าจอ และการใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน | |||||
4. ด้านความปลอดภัยของข้อมูลระบบสารสนเทศด้านการเรียนการสอนมีการกำหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน มีระบบ Login มีการจัดระดับความปลอดภัยหรือกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้งาน | |||||
5. ด้านบุคลากรผู้ให้บริการและการให้คำปรึกษาในการเข้าใช้ระบบ |
ความพึงพอใจระบบสารสนเทศด้านการเรียนการสอน
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ระบบรับสมัครนักศึกษา | |||||
2. ระบบรายงานผลประเมินการสอนของอาจารย์ | |||||
3. ระบบตรวจสอบข้อมูลตารางสอน สำหรับอาจารย์ผู้สอน | |||||
4. โปรแกรมจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ด้วย Microsoft Teams | |||||
5. ระบบกรอกผลการเรียนออนไลน์ | |||||
6. ระบบการเพิ่มถอนรายวิชา | |||||
7. ระบบยกเลิกรายวิชาเรียน | |||||
8. ระบบขอขยายเวลาชำระค่าธรรมเนียมการศึกษา/ขาดแคลนทุนทรัพย์ | |||||
9. ระบบสำรวจการฉีดวัคซีน |
ด้านการบริหารจัดการ
คำชี้แจ้ง
ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับการบริหารจัดการ เช่น
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ(MIS)
ระบบรายงานผลการขอตำแหน่งทางวิชาการ ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
(E-PAR) เป็นต้น
การประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ด้านการทำงานของระบบ ระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ สามารถสืบค้น สามารถทำงาน และสามารถแสดงผลได้ตามต้องการ | |||||
2. ด้านประสิทธิผลของระบบ ระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ สามารถประมวลผลข้อมูลได้ดี มีความถูกต้อง แม่นยำ และสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือสนับสนุนการตัดสินใจได้ | |||||
3. ด้านความยากง่ายต่อการใช้ระบบ ระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ มีรูปแบบ ตัวอักษร สัญลักษณ์ ความเหมาะสมของหน้าจอ และการใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน | |||||
4. ด้านความปลอดภัยของข้อมูลระบบ ระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ มีการกำหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน มีระบบ Login มีการจัดระดับความปลอดภัยหรือกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้งาน | |||||
5. ด้านบุคลากรผู้ให้บริการและการให้คำปรึกษาในการเข้าใช้ระบบ |
ความพึงพอใจระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ (MIS) | |||||
2. ระบบบุคลากร | |||||
3. ระบบรายงานผลการขอตำแหน่งทางวิชาการ | |||||
4. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (E-PAR) (A1-A4) | |||||
5. ระบบบันทึกเวลาปฏิบัติราชการ | |||||
6. ระบบจัดการหนังสือราชการและการลา ( e-Office Automation ) |
ด้านการวิจัย
คำชี้แจ้ง
ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับการวิจัย เช่น ระบบสืบค้นรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลบทความการประชุมวิชาการ ระบบส่งข้อเสนอโครงการวิจัย เป็นต้น
การประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศด้านการวิจัย
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ด้านการทำงานของระบบ ระบบสารสนเทศด้านการวิจัย สามารถสืบค้น สามารถทำงาน และสามารถแสดงผลได้ตามต้องการ | |||||
2. ด้านประสิทธิผลของระบบ ระบบสารสนเทศด้านการวิจัย สามารถประมวลผลข้อมูลได้ดี มีความถูกต้อง แม่นยำ และสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือสนับสนุนการตัดสินใจได้ | |||||
3. ด้านความยากง่ายต่อการใช้ระบบ ระบบสารสนเทศด้านการวิจัย มีรูปแบบ ตัวอักษร สัญลักษณ์ ความเหมาะสมของหน้าจอ และการใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน | |||||
4. ด้านความปลอดภัยของข้อมูลระบบ ระบบสารสนเทศด้านการวิจัย มีการกำหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน มีระบบ Login มีการจัดระดับความปลอดภัยหรือกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้งาน | |||||
5. ด้านบุคลากรผู้ให้บริการและการให้คำปรึกษาในการเข้าใช้ระบบ |
ความพึงพอใจระบบสารสนเทศด้านการวิจัย
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ระบบสืบค้นรายงานการวิจัย | |||||
2. ฐานข้อมูลบทความการประชุมวิชาการ | |||||
3. ระบบส่งข้อเสนอโครงการวิจัย | |||||
4. ระบบรายงานผลงานทางวิชาการและการตีพิมพ์เผยแพร่ | |||||
5. ระบบรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย | |||||
6. ระบบส่งบทความวารสารสักทอง(มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์/วิทยาศาสตร์) |
ด้านบริการวิชาการ
คำชี้แจ้ง
ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับบริการวิชาการ เช่น
ระบบรายงานความก้าวหน้าบริการวิชาการ
ระบบความเชี่ยวชาญด้านบริการวิชาการ การตลาดออนไลน์ KPRU-PTOP
ระบบติดตามผลการดำเนินการโครงการหลักสูตรระยะสั้น เป็นต้น
การประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศด้านบริการวิชาการ
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ด้านการทำงานของระบบ ระบบสารสนเทศด้านบริการวิชาการ สามารถสืบค้น และสามารถแสดงข้อมูลได้ตามต้องการ | |||||
2. ด้านประสิทธิผลของระบบ ระบบสารสนเทศด้านบริการวิชาการ สามารถนำเสนอข้อมูลถูกต้อง แม่นยำ และสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือสนับสนุนการตัดสินใจได้ | |||||
3. ด้านความยากง่ายต่อการใช้ระบบ ระบบสารสนเทศด้านบริการวิชาการ มีรูปแบบ ตัวอักษร สัญลักษณ์ ความเหมาะสมของหน้าจอ และการใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน | |||||
4. ด้านความปลอดภัยของข้อมูลระบบ ระบบสารสนเทศด้านบริการวิชาการ มีการกำหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน มีระบบ Login มีการจัดระดับความปลอดภัยหรือกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้งาน | |||||
5. ด้านบุคลากรผู้ให้บริการและการให้คำปรึกษาในการเข้าใช้ระบบ |
ความพึงพอใจระบบสารสนเทศด้านบริการวิชาการ
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ระบบรายงานความก้าวหน้าบริการวิชาการ | |||||
2. ระบบความเชี่ยวชาญด้านวิทยากร | |||||
3. การตลาดออนไลน์ KPRU-PTOP | |||||
4. ระบบติดตามผลการดำเนินการโครงการหลักสูตรระยะสั้น |
ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
คำชี้แจ้ง
ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรม เช่น
ข่าวประชาสัมพันธ์ด้านศิลปะและวัฒนธรรมผ่านเว็บไซต์มหาวิทยาลัย
จดหมายข่าวสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ฐานข้อมูลท้องถิ่นกำแพงเพชร-ตาก
ระบบสมาชิก To Be Number 1 เป็นต้น
การประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรม
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ด้านการทำงานของระบบ ระบบสารสนเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรม สามารถสืบค้น และสามารถแสดงข้อมูลได้ตามต้องการ | |||||
2. ด้านประสิทธิผลของระบบ ระบบสารสนเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรม สามารถนำเสนอข้อมูลถูกต้อง แม่นยำ และสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือสนับสนุนการตัดสินใจได้ | |||||
3. ด้านความยากง่ายต่อการใช้ระบบ ระบบสารสนเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรม มีรูปแบบ ตัวอักษร สัญลักษณ์ ความเหมาะสมของหน้าจอ และการใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน | |||||
4. ด้านความปลอดภัยของข้อมูลระบบ ระบบสารสนเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรม มีการกำหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน มีระบบ Login มีการจัดระดับความปลอดภัยหรือกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้งาน | |||||
5. ด้านบุคลากรผู้ให้บริการและการให้คำปรึกษาในการเข้าใช้ระบบ |
ความพึงพอใจระบบสารสนเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรม
หัวข้อ | ความคิดเห็น | ||||
---|---|---|---|---|---|
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
1. ข่าวประชาสัมพันธ์ด้านศิลปะและวัฒนธรรมผ่านเว็บไซต์มหาวิทยาลัย | |||||
2. จดหมายข่าวสำนักศิลปะและวัฒนธรรม | |||||
3. ฐานข้อมูลท้องถิ่นกำแพงเพชร-ตาก | |||||
4. ระบบสมาชิก To Be Number 1 |